วันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2557

ความหมาย กายวิภาคศาสตร์ (Human anatomy) หมายถึง เป็นวิทยาศาสตร์ที เกี ยวข้องถึงการศึกษา เกี ยวกับโครงสร้าง (structure) รูปร่างลักษณะ (morphology) และตําแหน่งที ตั9งของอวัยวะต่างๆของ มนุษย์ คําว่า Anatomy มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก แบ่งออกเป็น 2 คําคือ Ana มีหมายความว่า การแยกเป็นส่วนๆ และ Tomy มาจากคําว่า tome หมายความว่า การ ตัด ดังนั9นคําว่า Anatomy จึงหมายความว่า การตัดออกเป็นส่วนๆ สรีวิทยา (Physiology) เป็น วิทยาศาสตร์ที เกี ยวข้องถึงการศึกษาเกี ยวกับหน้าที (Function) และการทํางานของอวัยวะต่างๆของร่างกาย

วันพุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2557

เศรษฐกิจพอเพียง เวปไซต์แห่งนี้ ได้รวบรวมข้อมูลและเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ เศรษฐกิจพอเพียง ไว้อย่างครอบคลุม ไม่ว่าจะเป็นในด้านประวัติความเป็นมา หรือจุดเริ่มต้นที่ก่อเกิดเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมา ในด้านความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง พระราชดำรัสเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการต่างๆที่เนื่องมาจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเราได้รวมเอาบุคคลตัวอย่าง ข้อสอบ บทกลอน และเรียงความเศรษฐกิจพอเพียง มาใว้ที่นี่ที่เดียว โดยเนื้อหาต่างๆดังที่กล่าวมา ท่านสามารถเลือกหาหัวข้อที่ท่านสนใจที่เมนูด้านซ้ายมือได้เลย
ความหมายของคอมพิวเตอร์ หมายถึงเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูง อย่างต่อเนื่อง และอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คำจำกัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ การจำแนกคอมพิวเตอร์ตามลักษณะวิธีการทำงานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ

วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557

การเขียนตัวเลขและจ านวน ในการเขียนตัวเลขจ านวน ในจ านวนที่ส าคัญพิจารณาได้ดังนี ้ ระบบตัวเลขฮินดู อารบิก เป็ นระบบที่ใช้ทั่วๆไปในปัจจุบัน โดยใช้เลขฐาน 10 ดังนี ้ 129 100  20  90 1 (10) 2 (10) 9 (10) 2 1       (เพราะว่า 100 = 1) ระบบตัวเลขโรมัน เป็ นระบบของการเขียนแบบรวมพวกอย่างง่าย โดยใช้เลขฐาน 10 ดังนี ้ ตัวเลขโรมัน I V X L C D M ตัวเลขอารบิก 1 5 10 50 100 500 1000 ระบบตัวเลขฐานสอง ในระบบนี ้จะใช้ตัวเลข 2 ตัว คือ 0 กับ 1 เช่น 1011012 1(25)  0(24) 1(23) 1(22) 1(21) 1(20)  32  0 8 4  0 1 1011012  45 (ในเลขฐาน 10 ซึ่งฐาน 10 จะไม่เขียนห้อยไว้ ละไว้ในฐานที่เข้าใจ)

วันอังคารที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2557

ภาษาไทย หรือ ภาษาไทยถิ่นกลาง เป็นภาษาทางการของประเทศไทย และภาษาแม่ของชาวไทย และชนเชื้อสายอื่นในประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางท่านเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับ ตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ เป็นที่ลำบากของชาวต่างชาติเนื่องจาก การออกเสียงวรรณยุกต์ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคำ และการสะกดคำที่ซับซ้อน นอกจากภาษากลางแล้ว ในประเทศไทยมีการใช้ ภาษาไทยถิ่นอื่นด้วย
บทความวิชาการ[แก้] ในวงวิชาการ นักวิชาการและนักวิชาชีพจะยื่นเสนอบทความของตนที่ไม่ได้รับการเชื้อเชิญโดยตรงจากบรรณาธิการ เพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เมื่อได้รับต้นฉบับบทความแล้ว บรรณาธิการหรือคณะบรรณาธิการจะพิจารณาตรวจบทความว่าสมควรรับหรือไม่รับไว้ในทันทีก็ได้ หรืออาจเริ่มกระบวนการตรวจแก้คุณภาพโดยผู้รู้ในสาขาวิชา ในกรณีหลัง บทความยื่นเสนอจะกลายเป็นเอกสารลับที่ปกปิดชื่อผู้เขียนเพื่อดำเนิน การทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน (peer-review) ซึ่งเป็นบุคคลผู้รู้ภายนอกที่บรรณาธิการเป็นผู้เลือก จำนวนผู้ตรวจแก้ หรือ "กรรมการ" ผู้ตรวจแก้ไม่ตายตัว โดยทั่วไปมีจำนวน 3 คน แต่จะต้องไม่น้อยกว่า 2 คน บรรณาธิการอาศัยความเห็นของคณะผู้ตรวจแก้เป็นเครื่องตัดสินว่าบทความที่บุคคลผู้นั้นเสนอมาสมควรได้รับการตีพิมพ์หรือไม่ (ดูกระบวนการนี้ในบทความหลักเรื่อง "การทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน") ในบางกรณี บทความที่ผ่านการตรวจแก้และได้รับการยอมรับให้ลงพิมพ์ได้ยังต้องผ่านขั้นตอนการตรวจแก้อย่างละเอียดถี่ถ้วนอีกครั้งหนึ่งโดยคณะบรรณาธิการก่อนส่งแท่นพิมพ์ เนื่องจากกระบวนการตรวจแก้และยอมรับบทความใช้เวลายาวนาน บทความที่เสนอและได้รับการตีพิมพ์จึงใช้เวลานานนับเดือน หรืออาจถึงปีนับจากวันที่ บรรณาธิการได้รับบทความ กระบวนการทบทวนโดยผู้รู้เสมอกันนับเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างความเชื่อถือให้เกิดขึ้นกับผลงานวิจัยและความรู้ใหม่ในสาขาวิชานั้นๆ นักปราชญ์หรือผู้รู้ย่อมเชี่ยวชาญอย่างลึกซึ้งเฉพาะในสาขาวิชาของตน ดังนั้น นักวิชาการจึงต้องอาศัยวารสารวิชาการที่ผ่านกระบวนการทบทวนโดยผู้รู้เสมอกันเท่านั้นเพื่อเป็นการพิสูจน์ความถูกต้อง สร้างความเชื่อถือและความเลื่อมใสให้เกิดแก่งานวิจัยนั้นๆ และความรู้ใหม่ นอกจากนี้ วารสารวิชาการยังช่วยสร้างความต่อเนื่องหรือการต่อยอดสืบจากงานค้นคว้าวิจัยหรือความรู้ใหม่จากบุคคลในวงวิชาการนั้นๆ ต่อไป

Unordered List

Sample Text

ผ.อ

boontum.jpg

คูรผู้สอน

ีัาี

รูปเพื่อน

Text Widget

hio